ดาวพลูโต





     
           ดาวพลูโตเป็นดาวเคราห์ที่อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยจักรวาล มีขนาดเล็กมาก และวงโคจรก็ต่างไปจากดาวดวงอื่นๆ จนเมื่อปี พ.ศ.2542(ค.ศ.1999) มีนักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มเสนอให้ดาวพลูโต ป็นแค่เพียงดาวเคราะห์น้อย เท่านั้น
           ดาวพลโตเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลที่สุดเป็นลำดับ 9  ส่องกล้องค้นพบโดย ไคลด์  ทอมบอห์ (Clyde Tombough) เมื่อวันที่ 23 มรกราคม พ.ศ.2473(ค.ศ.1930) เป็นดาวเราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ ความรู้ในเรื่องต่างๆของดาวดวงนี้ยังมีความชัดเจนไม่มากนัก เพราะเป็นดาวที่อยู่ห่างจากโลกถึง 38.46 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 7,400,000,000 กิโลเมตร ซึ่งหากจะส่งยานอวกาศขึ้นไปสำรวจดาวพลูโต จะต้องเดินทางอย่าน้อย 10-15 ปีเลยทีเดียว

 
        

ขนาดของดาวพลูโ
      มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2390 กิโลเมตร 

บริวาลของดาวพลูโต

ดาวพลูโตกับดวงจันทร์ทั้งสาม


คารอน
นิกซ์
ไฮดรา
s/2011 P1
s/2012 P1  
 









สีของดาวพลูโต
    สีแดง/ส้มแดง

ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวพลูโต
    5,906,376,200 กิโลเมตร


ระยะทางจากโลกถึงดาวพลูโต 
 5756376200 กิโลเมตร

ชั้นบรรยากาศ
จะประกอบด้วย ไนโตรเจน และ มีเทน  

มวล
1.25×1022กก.
(0.0021×โลก)



การเปลี่ยนสถานะเป็นดาวเคราะห์แคระ


การโหวตสถานภาพของพลูโตในที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล

เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ซึ่งประกอบด้วยนักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนจาก 75 ประเทศทั่วโลก ได้มีมติกำหนดนิยามใหม่ของดาวเคราะห์คือวัตถุทรงกลมที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ และอยู่ห่างจากดาวรอบข้างในวงโคจรของตัวเอง
ส่งผลให้ดาวพลูโตถูกปลดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ คงเหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง เนื่องจากดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดและวงโคจรของสิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกระบบสุริยะ และให้ถือว่าดาวพลูโตเป็น ดาวเคราะห์แคระ (และวัตถุในระบบสุริยะ (นอกจากดวงอาทิตย์) ได้ถูกจัดใหม่เป็น 3 ประเภท คือ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ และวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ)
การประชุมเพื่อถกเถียงเรื่องสถานภาพของดาวพลูโต ใช้เวลากว่า 1 สัปดาห์
ผลที่ได้จากการลงมติ ทำให้ดาวพลูโตหลุดออกจากดาวเคราะห์ในระบบสุริยะดวงที่ 9 หลังจากอยู่ในระบบสุริยะมานานถึง 76 ปี รวมไปถึง อีริส ดวงที่ 10 ที่นาซ่าเป็นผู้ค้นพบ กลายเป็นดาวเคราะห์แคระ
นักดาราศาสตร์หลายคนมีความเห็นคัดค้านในเรื่องนี้ แต่ก็จำเป็นต้องยอมรับกับการที่มนุษย์ได้มีความรู้ในระบบสุริยะมากขึ้น ได้เห็นหลายสิ่งเพิ่มขึ้นจากอดีต
ดาวพลูโตอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากและได้รับแสงน้อย จึงมีอุณหภูมิต่ำมาก นักดาราศาสตร์จะได้ศึกษาดาวพลูโต และวัตถุในแถบไคเปอร์อย่างละเอียดในปี พ.ศ. 2558 เมื่อยานนิวฮอไรซันส์ของนาซา ซึ่งถูกปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2549 เดินทางไปถึงวงโคจรของดาวพลูโต ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งยานจำเป็นต้องไปให้ทันเวลา เพื่อให้ทันต่อการศึกษาวิจัยดาวพลูโต เพราะหากเมื่อดาวพลูโตมีวงโคจรห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตจะเข้าสู่ฤดูหนาวยาวนานถึง 62 ปี และจะทำให้บรรยากาศกลายเป็นน้ำแข็งและร่วงลงสู่ผิวดาว ทำให้ไม่สามารถวิจัยบรรยากาศของดาวที่แท้จริงได้ และจะทำให้เสียองค์ประกอบทางด้านเคมีที่สำคัญในการวิจัยไป รวมถึง อุณหภูมิ ลม และโครงสร้างบรรยากาศของดาวไปด้วย

เนื้อหาที่เกี่ยวข้องค้าบ



เปรียบเทียบขนาดโลก ดวงจันทร์ พลูโต เซดนา และควาอัวร์


พลูโตกับดวงจันทร์ทั้งสาม
วงโคจรของดาวพลูโต (สีแดง) เทียบกับดาวเนปจูน (สีน้ำเงิน)
แสดงให้เห็นว่าบางช่วงเวลาดาวพลูโตจะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน
วงโคจรของดาวพลูโตเทียบกับดาวเนปจูน
(ภาพด้านข้าง จากมุมเงยประมาณ 10 องศา)
แอนิเมชั่นการหมุนของดาวพลูโต




โดย  นายวณิชย์  แซ่ลิ่ม  เลขที่ 11 ม3/9


8 ความคิดเห็น:

  1. จริงหรือไม่ที่ดาวพลู ไม่เคยโคจรรอบดวงอาทิตย์เลย

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. จริงครับ กว่าจะครบรอบก็ปี ค.ศ.2178 ถึงจะครบ1รอบ

      ลบ
  2. จริงหรือไม่ที่ดาวพลู ไม่เคยโคจรรอบดวงอาทิตย์เลย

    ตอบลบ
  3. บนดาวพลูโต เล็กกว่า ก็จริง แต่ แรงดึงดูดมากกว่า โลกถึง 1000 เท่า
    น้ำหนัก 10 กิโลกรัมบนโลก จะมีน้ำหนัก 10,000 กิโลกรัม หรือ 10 ตัน บนดาวพลูโต
    ดาวพลูโตจึงมีชั้นบรรยากาศใหญ่กว่าโลกมากมาย

    ตอบลบ
  4. ผมอยากรู้ว่าเเสงของดวงอาทิตย์ส่องไปถึงดาวพลูโตรึปล่าวครับ
    เเละใช้เวลาเท่าใดครับผม....
    *-*

    ตอบลบ
  5. ผมอยากรู้ว่าเเสงของดวงอาทิตย์ส่องไปถึงดาวพลูโตรึปล่าวครับ
    เเละใช้เวลาเท่าใดครับผม....
    *-*

    ตอบลบ
  6. ชอบๆๆดูเรื่องดาว https://www.youtube.com/watch?v=yeQxjD4uiRc

    ตอบลบ
  7. ขอบคุณสำหรับความรู้นี้มากๆค่ะช่วยได้เยอะเลยค่ะ💗💗💗

    ตอบลบ